โปรตีโอแบคทีเรีย (Proteobacteria)
·
มี 380 genera, 1300 species เป็นแบคทีเรียกลุ่มใหญ่ที่สุดและมีความหลากหลายที่สุด
·
เป็นแบคทีเรีย Gram–negative
·
มี 5 Classes ดังนี้
1.
Alphaproteobacteria
2.
Betaproteobacteria
3.
Gammaproteobacteria
4.
Deltaproteobacteria
5.
Epsilonproteobacteria
ข้อ 1-3 เป็น purple photosynthetic bacteria เหตุนี้จึงสันนิษฐานว่า proteobacteria
วิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษมีลักษณะคล้ายกับ purple bacteria ที่สังเคราะห์แสงได้
1. Class Alphaproteobacteria
·
มีทั้ง oligotrophic proteobacteria (เจริญได้ที่ low nutrient levels)
มี methylotrophy
(Methylobacterium)
Chemolithotrophy (Nitrobacter)
Abletofixnitrogen (Rhizobium)
Rickettsia และ Brucella เป็น pathogens ก่อให้เกิดโรค
และ Prosthecae มีรูปร่างแปลก
·
6
orders, 18 families
1.1 Purple nonsulfur bacteria
·
ใช้การสังเคราะห์แสงแบบ anoxygenic
photosynthesis
·
มี bacteriochlorophylls แบบ a หรือ b
ซึ่งสามารถดูดกลืนแสงที่คลื่นแสงต่างกัน
·
ส่วนมากเคลื่อนที่ได้ (motile) มี flagella
·
เป็น photoorganoheterotrophs
·
แต่มีบาง species สามารถอ๊อกซิไดซ์ (oxidize) sulfide ให้เป็น sulfate ได้
โดยใช้จำนวนสารตั้งต้นที่น้อยมากๆ
·
รูปร่าง morphology มีหลายแบบ
·
มีทั้งแบบ spirals, rods, half circles, circles,
prosthecae หรือ buds
·
พบได้ตั้งแต่ในโคลนในทะเลสาบ แอ่งน้ำที่มีสารออร์กานิกอุดมสมบูรณ์และมีปริมาณ
sulfide
ต่ำ
1.2
Rickettsia
and Coxiella
·
รูปร่าง Rod–Shape, coccoid หรือเป็น pleomorphic ที่มีการติดสีเป็น Gram-negative ไม่มี flagella
·
รูปร่างเล็ก ประมาณ 0.2 – 2.0 micron (micrometer)
·
เป็นปรสิตใน erythrocytes
และ macrophages และใน vascular
endothelial cell ในหนูและคน นอกจากนี้แล้วยังเป็น parasitesในพวก เห็บ เหา ด้วย
·
Rickettesia เข้าสู่ host cells โดยชักนำให้เกิด phagocytosis
เมื่อเข้าสู่ร่างกายแล้วจะหนีจาก phagosome และแพร่พันธุ์โดยbinary fission ใน cytoplasm ของ host cells ทันที
· Coxiella
เมื่อเข้าสู่ host
cell แล้วจะยังอยู่ใน phagosome หลังจากที่ Coxiella
หลอมรวมกับ lysosome แล้ว และ coxiella
นี้จะแพร่พันธุ์ใน phagolysosome
ต่อจากนั้น host cell จะแตกได้ Coxiella จำนวนมากต่อไป
* host cells จะได้รับอันตรายจาก cell
lysis และ rickettsial cell wall = ซึ่งเป็น toxic
·
Rickettsias ไม่มี glycolytic
pathway, ไม่ใช้ glucose แต่จะใช้ glutamate
และ สารที่ได้จาก tricarboxylic acid cycle
·
plasma
membrane ของ rickettsias มี transport
system ที่ใช้ดูดซึมและขนส่งสารอาหารและสารที่จำเป็นต่างๆ มาจาก host
cells
เช่น สามารถดูดซึม
ADP,
ATP, NAD หรือ glucose
จาก host cells
สิ่งนี้จึงอธิบายว่าทำไมการเพาะเลี้ยงเชื้อ rickettsias
จึงต้องทำใน yolk sacs หรือ chick embryos หรือ tissue
culture cells
·
genome
sequence ของ Rickettsia prowazekii แสดงให้เห็นว่า genome นี้มีรหัส DNA คล้ายกับ mitochondria
ของคนเรา ซึ่งเป็นไปได้ว่า mitochondria นั้นวิวัฒนาการมาจากบรรพบุรุษของ
Rickettsia ที่อาศัยอยู่ในร่างกายเราอย่างพึ่งพาอาศัยกัน
·
R. prowazekii และ R. typhi ทำให้เกิด typhus fever
R. rickettsii ทำให้เกิด Rocky Mountain spotted fever
Coxiella burnetii ทำให้เกิด Q fever ในคน
Rickettsias ยังเป็น pathogens ในสัตว์เลี้ยงอีกด้วย
1.2
Caulobacteraceae and Hyphomicrobiaceae
· ไม่ใช่ proteobactaria ทั้งหมดที่มีรูปร่างเป็น rods
หรือ cocci ง่ายๆ แต่บาง
ชนิดจะมี appendage ยื่นออกมา แบคทีเรียนี้จะมี appendage ยื่นออกมา
แบคทีเรียนี้จะมี appendage ลักษณะใดลักษณะหนึ่งต่อไปนึคือ:
aprostheca ,
astalk หรือ budding
· Aprostheca [pl., prosthecae] = ส่วนที่ยื่นออกมาจากเซลล์ รวมถึง plasma
membrane และ cell
wall แต่จะมีลักษณะเรียวกว่าเซลล์ที่สมบูรณ์
· A stalk = nonliving appendage สร้างโดยเซลล์ที่จะยื่นออกมา
· Budding = เซลล์ที่เกิดมาจาก
binary fission
· ใน family นี้มี genera
ที่ถูกศึกษาไว้มากคือ Caulobacter กับ
Myphomicrobium
Genus Hyphomicrobium
· เป็น
Chemoheterotrophic, aerobic, budding bacteria
· มักจะพบที่ผิวของวัตถุที่เข็งในน้ำทะเลหรือบนบกและผิวน้ำ
·
ขนาดของเซลล์ 0.5–1.0 x 1–3 micron
· Hyphomicrobium ไม่สามารถเจริญได้กับ
sugars และ amino acids
ส่วนใหญ่
แต่เจริญได้กับ
ethanol, acetate และสารคาร์บอนโมเลกุลเดี่ยว
(one-carbon
molecules) เช่น methanol,
formate และ formaldehyde
· เป็น methylotroph สามารถใช้สาร one-carbon
molecules สร้างพลังงานได้
· Hypholotroph อาจจะพบอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่เป็นแหล่งน้ำที่มีสารอาหารต่ำ
คิดเป็น 25 % ของประชากรในแหล่งน้ำนั้นทั้งหมด
Genus Coulobacter
· อาจจะพบเป็น
polarly
flagellated rods หรือมี prostheca
หรือ holdfast (เกาะกัน
เป็นกลุ่มด้วย prostheca)
· มักจะแยกเชื้อได้มาจากน้ำจืดและทะเลที่มีปริมาณสารอาหารอยู่น้อยและยังพบตาม
พืชดินด้วย
· มักพบเกาะอยู่กับ
bacteria
algae หรือสิ่งมีชีวิตอื่น และอาจจะดูดซึมสารอาหารที่
ปล่อยออกมาจาก host เหล่านี้
· Prostheca ของ coulobacter ต่างจากของ hyphomicrobium ตรงที่ไม่มี
cytoplasmic component แต่จะประกอบด้วย plasma
membrane และ cell wall
เกือบทั้งโครงสร้าง และสามารถเจริญเติบโตได้ยาวกว่า 10
เท่าของความยาวของ
coulobacter ปกติ
1.3 Family
Rhizobiaceae
· เป็น Gram – negative,
aerobic มี 2 genera คือ
Rhizobium และ Agrobacterium
Rhizobium
·
ขนาด
0.5
– 0.9 × 1.2 × 3.0 micron เป็น motile rod
· มักจะมี poly – ß – hydroxybutyrate granules
· จะเปลี่ยนเป็น pleomorphic ถ้าอยู่ในภาวะที่ไม่เหมาะสมต่อการเจริญ
· เป็น nitrogen –
fixing bacteroids
· อาศัยอยู่ที่ root nodule
cells ของพืชตระกูลถั่ว (legumes) ที่รากพืชแบบพึ่งพาอาศัย
Azotobacter
· free–living soil genus อยู่ในดินอย่างอิสระ
· fix nitrogen
ในอากาศ = nonsymbiotic
· ไม่กระตุ้นให้รากพืชเกิดปมที่ราก
(root
nodule) แต่จะบุกรุก crow, roots และ
stem cell ในพืช และเปลี่ยนเป็น
tumor
cells
· species ที่ศึกษากันมากคือ
A. tumefaciens ที่ทำให้เกิด crown gall
disease ในพืช
· การเกิดโรค crown gall disease ขึ้นอยู่กับ Ti plasmid (tomor – iducing
plasmid) อยู่ใน A. tumefaciens
1.5 Nitrifying
Bacteria
·
3 classes, หลาย families
·
Nitrobacter อยู่ใน Bradyrhizobiaceae, alpha-
proteobacteria
·
Nitrosomonus และ Nitrotrosospira อยู่ใน Nitrosomonadaceae , beta-
proteobacteria
·
Nitrococcus อยู่ใน
Ectothiorhodospiraceae, gamma-
proteobacteria
·
Nitrosoccus อยู่ใน Chromatiaceae, gamma- proteobacteria
·
Aerobic, Gram-negative, ไม่มี endospores
·
สามารถออกซิไดซ์
(oxidize) amonia หรือ nitrite ได้
(ลักษณะพิเศษที่ใช้จำแนก)
· สามารถแยกเชื้อได้จากพื้นดิน
ระบบน้ำทิ้ง น้ำจืด หรือน้ำเค็ม
· Genera Nitrobacter
and Nitrococcus
Nitrite --> oxidized -->
Nitrate
· Genera Nitrosomonas , Nitrosospira และ Nitrosococcus
Amonia --> oxidized -->
Nitrite
Nitrification = Amonia --> Nitrite --> Nitrate
โดยผสม Nitrobacter กับ Nitrosomonas พบในพืชดินที่มีการให้ปุ๋ย ammonium
salts
2.
Class Betaproteobacteria
· มี 6 orders , 12
families
· 2 genera ที่สำคัญและเป็นเชื้อที่ก่อโรคในคน
(human pathogens)
คือ Neisseria
กับ
Bordetella
2.1 Order Neisseriales
· 14 genera
·
genus ที่ได้รับความสนใจและศึกษามากคือ
Neisseria ซึ่งเป็น nonmotile,
aerobic, gram – negative และ catalase positive เกือบทุก species
Neisseria gonorrhoeae ทำให้เกิดโรคหนองใน (gonorrhea)
Neisseria moningitidis ทำให้เกิดโรคขี้สมองอักเสบ
(bacterial meningitis)
2.2
Order Burkholoderiales
·
5 families, family Burkholderiaceae มีจีนัสที่รู้จักกันดีคือ genus
Burkholderia ที่แยกออกมาจาก
genus Pseudomonas
· Burkholderia , Gram – negative , aerobic ,
nonfermentative , non-spore –
forming, mesophilic straight rods, ส่วนมากเป็น polar flagelated, เป็น oxidase
positive และส่วนมากใช้ poly
-beta-
hydroxybutyrate เป็นแหล่งคาร์บอนสะสม
· B. cepacia สามารถย่อย organic molecules > 100 ชนิด เป็น plant pathogen,
และก่อโรคกับคนที่เป็น cystic fibrosis และ การติดเชื้อของเครื่องมือใน
โรงพยาบาล
· Family Alcaligenaceae มี genus Bordetella
ซึ่งจะเป็น Gram
–negative ,
aerobic coccobacilli , 0.2 – 0.5 x 0.5 x 2.0 micron
Bordetella เป็น Chemo
organotroph ต้องการ organic sulfur
และ nitrogen
(aminoacids) เพื่อการเจริญเติบโต
Bordetella เป็น mammalian
parasite อยู่ใน respiratory epithelial
cells
Bordetella pertussis เป็น nonmotile , encapsulated species ก่อโรค whooping cough
· Family Comdmondaceae มี 15
genera มีความหลากหลายค่อนข้างมาก บาง genera มีโครงสร้าง “Sheath” =
a hollow tube-like
structure ล้อมรอบเซลล์ที่ต่อๆ กัน Sheath จะปกคลุมเซลล์ มีหน้าที่
2 อย่างคือ
1. ช่วยแบคที่เรียเกาะกับพื้นผิวที่แข็ง และคอยดักสารอาหารจากน้ำที่ไหลผ่านมา
2. คอยป้องกันการถูกกินโดย protozoa และ Bdellovibrio มี 2 genera ที่ถูกศึกษามากคือ Sphaerotilus และ Leptothrix
1. ช่วยแบคที่เรียเกาะกับพื้นผิวที่แข็ง และคอยดักสารอาหารจากน้ำที่ไหลผ่านมา
2. คอยป้องกันการถูกกินโดย protozoa และ Bdellovibrio มี 2 genera ที่ถูกศึกษามากคือ Sphaerotilus และ Leptothrix
2.3
Order Nitrosomonadales
· chemolithotrophs, Nitrosomonadales
· 2 genera =
nitrifying bacteria =
Nitrosomonas และ Nitrosospira
(ได้กล่าวไปแล้ว)
· Family Spirillaceae มี 1 genus คือ Spirillum
2.4 Order Hydrogenophilales
· small order มีเชื้อที่ถูกศึกษามากคือ Thiobacillus ซึ่งเป็น colourless sulfur
bacteria ซึ่งคล้ายกับ nitrifying bacteria
ตรงที่จะมีความหลากหลายมาก
· genera ที่รู้จักกันดีคือ Thiobacillus กับ Thiomicropira
·· Thiobacillus เป็น Gram-negative rod, polarly flagellated
· Thiomicrospira เป็น long
spiral cell , polarly flagellated
·
ข้อแตกต่างของ
2
genera นี้กับ nitrifying bacteria
คือไม่มี extensive internal
membran
·
Thiobacillus โตในดิน ในน้ำจืดและน้ำเค็ม
·
Thiobacillus ทนต่อกรดได้สูง (โตได้ที่ pH = 0.5)
- Acidified by sulfuric acid
production
- ทำให้เกิดการกัดกร่อนของโลหะ
3.
Class Gammaproteobacteria
Bergey’s Manual มี 13 orders , 20
families , ประมาณ 160 genera
3.1
The
purple sulfur bacteria
· most purple nonsulfur bacteria เป็น α-proteobacteria ซึ่งกล่าวไปแล้ว
·
purple
sulfur bacteria = gamma-proteobacteria จะกล่าวดังต่อไปนี้
· Bergey’s
Manual แบ่ง purple
sulfur bacteria เป็น 2 families
คือ
- Chromatiaceae มี 22
genera
- Ectothiorhodospiraceae มี 5
genera เป็น spiral -shaped,
polarly flagellated
cells สะสม sulfur
globules
· purple sulfur
bacteria ทั่วๆไป เช่น Thiospirllum,
Thiocapsa และ Chromatium
สามารถ oxidize hydrogen sulfide ได้เป็น sulfur ที่จะสะสมใน granules
purple sulfur bacteria พบที่ทะเลสาบที่มีลักษณะ anaerobic, sulfide rich zones
3.2 Order
Thiotrichales
· มี 3
families , family ที่ใหญ่ที่สุดคือ Thiotrichaceae
· มีทั้ง rods
และ filamentous forms
· family
ที่ถูกศึกษามากคือ Beggiatoa และ Leucothrix
· Beggiatoa เป็น microaerophilic โตในที่ที่มี sulfide
· Leucothrix เป็น anaerobic chemo orga
notroph สามารถฟอร์มเป็น filaments ยาวๆ ได้
· Leucothrix มี Life cycle ซึ่งมันจะแพร่กระจายโดย gonidia
· Thiothrix สามารถฟอร์มเป็น sheathed filaments
และปล่อย gonidia จากปลายปิดของ sheath
· Thiothrix
เป็น mixotroph สามารถ oxidizes hydrogen sulfide ได้เป็น sulfur และเก็บไว้ใน
granules และต้องการ organic compounds สำหรับการเจริญเติบโตด้วย
granules และต้องการ organic compounds สำหรับการเจริญเติบโตด้วย
· Thiothrix
เจริญเติบโตในแหล่งน้ำที่มี sulfide
3.3 Order
Methylococcales
· เป็น methylotrophs
·
rods, vibrios
และ cocci สามารถใช้ methane , methanol และ one – carbon compounds
เป็นแหล่งอาหารและพลังงานได้ ภายใต้ภาวะ
aerobic หรือ microaerobic
· 6 genera เช่น 1. Methylococcus
2. Methylomonas
·
ส่วนมากสามารถฟอร์ม cells ใน resting stage เหมือน cyst
· สำหรับ Methylococcales
3.4 Pseudomonadales
· genus
ที่สำคัญคือ Pseudomonas เป็น
Gram–negative curvedrods มี flagella ไม่มี prosthecaeu หรือ sheaths
· aerobic , chemoheterotrophs , O2 as
electron accepter
· Psedomonas ทุกชนิดมี TCA
cycle , และน้ำตาล hexoses มักย่อยใน Enter – Doudoroff pathway
มากกว่าใน glycolysis
·
Pseudomonas aeruginosa, P. fluorescens, P.
putida และ P. syringae
-
ไม่มี
poly
-beta-
hydroxybutyrate (PHB) = ผลิตผลที่เป็น fluorescent pigment
-
มี
yellow– green pigment ซึ่งจะเรืองแสงภายใต้แสง UV
·
Pseudomonads
มีลักษณะพิเศษดังนี้
1. สามารถย่อยสลาย (degrade) สาร organic molecules หรือสารอินทรีย์ ได้หลายๆ
ชนิด
สำคัญต่อ mineralization process
Burkhotderia capacia สามารถ degrade สาร organic molecules มากกว่า 100 ชนิด
2.
ใช้ทำงานวิจัยทดลอง
genone ของ P. aeruginosa 50% คล้าย E. coli
มี genes สำหรับ catabolism, nutrient transport และการนำโมเลกุลเข้าออกมาก
นี่จึงอธิบายความสามารถของ Pseudomonas ที่สามารถเจริญในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างได้
3.
เป็น
animal และ plant pathogens
P. syringae และ B. cepacia เป็น plant pathogens
4.
บางชนิด เช่น P.
fluorescens
ทำให้อาหารเสีย เช่น นม
เนื้อ ไข่ อาหารทะเล
เพราะสามารถโตได้ที่ 4 Co และ ย่อยสลาย (degrade) lipids
และ proteins ได้
· genus Azotobacter อยู่ใน family
Pseudomondaceae ด้วย
- ovoid bacteria
1.5 – 200 micron
- pleomorphic
- มี
cyst
- catalase positive
- พบในดินและน้ำ fixes
nitrogen ได้ แต่เป็น
nonsymbiotic
3.5
Order
Vibrionales
· proteobacteria
· facultatively anaerobic Gram–negative rods
· 1 family = Vibrionaceae มีสมาชิกเป็น rods
ที่มี polar flagella
Vibrionaceae ส่วนมากเป็น
oxidase positive ใช้ D–glucose เป็นแหล่งพลังงาน พบตามแหล่งน้ำ
มี 6 genera คือ Vibrio, Photobacterium, Enhydrobacter,
Salinivibrio , Listonella และ Allomanas
-
Vibro cholerae ทำให้เกิดโรค cholera
-
V. parahaemolyticus ทำให้เกิดโรค gastroenteritis (กินอาหารทะเลแล้วท้องเสีย)
-
V. anguillarum ทำให้เกิดโรค fish diseases
-
Vibrio fischeri กับ Photobacterium
(marinebacteria) มีความสามารถใน
bioluminescence
-
V. ficheri, P. phoaphoreum และ P. leiognathi จะเป็น
symbiotic ที่อวัยวะเปล่งแสง (luminous organs) ของปลา
-
Vibrio
fischeri สามารถ degrade 3',5'- cyclic AMP และใช้เป็นแหล่งคาร์บอน, ไนโตรเจน และฟอสฟอรัสสำหรับการเจริญเติบโตได้
3.6 Order
Enterbacteriales
· Enterobacteriaceae มี Gram–negative, flagellated หรือ nonmotile, facultatively anaerobic, straight rods ต้องการสารอาหารง่ายๆ
· enterobacteria or enteric bacteria
[Gr. Enterikos = pertaining to the intestine]
· degrade sugars
โดยใช้ Enbden
– Meyerhortf pathway
· ตัด (cleave) pyruvic
acid ได้ formic acid ใน formic acid fermentation
formic acid สามารถถูก degrade ไปเป็น H2 +
CO2 โดย formic hydrogenlyase จาก Escherichia spp.
· Family Enterobacteriaceae
แบ่งเป็น 2 กลุ่มตาม fermentation products
- Escherichia, Proteus,
Salmonella และ Shigella เป็น
Mixed acid fermentation ผลิตภัณฑ์เป็น lactate, acetate, succinate,
formate (หรือ H2 กับ CO2)
และ ethanol
- Enterobacter, Serratia ,
Erwinia และ Klebsiella เป็น butanediol fermentation
(ผลิตภัณฑ์เป็น butanediol
, ethanol) และ CO2
- สองกลุ่มนี้สามารถจำแนกได้ด้วย methyl red และ Voges
– Proskauer tests
·
เนื่องจากว่า enteric bacteria
มีความเหมือนกันมากทางด้าน morphology motility และความเจริญเติบโต ดังนั้น
จึงมีการวิเคราะห์ทางชีวเคมีเพื่อจำแนกแบคทีเรียในกลุ่มนี้
· E. coli ถูกศึกษามากที่สุด เช่นใช้เป็นดัชนีการเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อจาก feces (อุจจาระ)
· Salmonella ก่อโรค typhoid fever และ gastroenteritis
Shigella ก่อโรค bacillary dysentery
Klebsiella ก่อโรค pneumonia
Yersinia ก่อโรค plague
Erwinia ก่อโรค plant diseases
3.7 Order
Pasteurellales
· 0.2 – 0.3 micron, nonmotile, oxidare positive
· เป็นปรสิต (parasites) ในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
· 6
genera : Pasteurella, Haemophilus, Actinobacillus, Lonepinella,
Mannnheimia และ Phocoenobacter จะก่อโรคให้คนกับสัตว์
Pasteurella multilocida ก่อโรค fowl cholera ใน ไก่ เป็ด
P. haemolytica ก่อโรค pneumonia ในวัว แพะ
แกะ
H. influenzae type b เป็น human pathogen ทำให้เกิดโรคหลายโรคในคนรวมถึง meningitis ในเด็ก
3.8 Order
Bdellovibrionales
· 1 family : Bdellovibrionaceae มี 3 genera
· Bdellovibrio [Gr. Bdella
, leech]
· ประกอบด้วย aerobic , Gram – negative , curved –
rods มี polar
flagella
· Flagella หนาเนื่องจากมี sheath
หุ้มต่อเนื่องมาจาก cell wall
· Bdellovibrio มีลักษณะพิเศษคือ จะล่า Gram
– negetive bacteria เป็นอาหารและวงชีวิตจะเปลี่ยนไปมาระหว่าง a
non-growing predatory phase กับ intracellular m productive
phase
· Bdellovibrio ใช้ hydrolytic enzymes
ในการเจาะเหยื่อ
เมื่อเข้าไปในตัวเหยื่อแล้วจะอยู่ในพื้นที่ระหว่าง cell wall กับ plasma membrane แล้ว Bdellovibrio จะใช้สารอาหารโดยตรงจากเหยื่อ แล้ว Bdellovibrio จะมีขนาดยาวขึ้น แล้วจึงแยกออกเป็นเซลล์ย่อยๆ แตก lysis ออกมา
3.9 Order
Myxococcales
· Maxobacteria เป็นแบคที่เรีย Gram–negative aerobic
และเป็น soil bacteria พบตามพื้นดินทั่วไป
· มี gliding motility
·
วงชีวิตซับซ้อน
ซึ่งมีการสร้าง fruiting bodies
และมีระยะพักเป็น dormant myxospores
· G + C content = 67 – 71 %
· rod, 0.6 – 0.9 x 3 – 8 micron ปลายแหลมหรือทู่
· Myxobacteriales แบ่งเป็น 4 families ตามลักษณะ vegetative cell, myxospores และ sporangia
· Myxobacteria ส่วนมากเป็น micropredators หรือ scavengers (ผู้ย่อยสลาย) สามารถปล่อย digestive enzyme
ซึ่งจะย่อยเซลล์ของ bacteria และ yeast
บางพันธุ์ปล่อย antibiotics ถ้าอยู่รวมกันมากๆ
เอนไซม์ที่ปล่อยออกมาจะมาก ทำให้การย่อยมีประสิทธิภาพ
· Myxobacteria
ส่วนมากใช้ amino acids เป็นแหล่งคาร์บอน ม ไนโตรเจนและพลังงาน
· The
life cycle ของ Myxobacteria คล้ายกับ slime
molds
บางเซลล์จะพัฒนาเป็น myxospores และจะถูกหุ้มปิดไว้ในโครงสร้างที่มีผนังเซลล์อีกที เรียกว่า
sporangioles หรือ sporangia
-
Myxospores
= เป็นระยะพัก
ทนต่อรังสีและสามารถอยู่ได้ถึง 10 ปี
ในสภาวะที่แห้งแล้ง
5. Class
Epsilonproteobacteria
·
เป็นเซลล์ที่เล็กที่สุดใน 5 classes
· Gram – negative rods หลายรูปร่าง
· 1 order
ที่สำคัญคือ Campylobacter กับ Helicobacter
-
เป็น
microaerophilic,
motile or vibrioid, Gram – negetive rods
· genus
Campylobacter เป็นทั้ง
non-pathogens และ pathogens
C. fetus เป็น pathogens
ใน productive disease และแท้งในวัวและแกะ
ทำให้เกิด septicemia (pathogens หรือ toxins ในกระแสเลือด)
ทำให้เกิด enteritis = ลำไส้อักเสบ
C. jijuni ทำให้เกิดการแท้งในแกะ และโรค enteritis diarrhea
ในคน
· 14
species อย่างน้อยใน genus Helicobacter
Helicobacter แยกเชื้อได้มาจากลำไส้ส่วนบนของคน สุนัข
แมว
และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมประเภทอื่น
ในประเทศที่กำลังพัฒนา 70 – 90 % ของประชากรมีเชื้อนี้ 25 – 50 % ในประเทศที่พัฒนาแล้วการติดเชื้อน่าจะได้มาในช่วงวังเยาว์ ซึ่งการติดเชื้อที่แท้จริงไม่ทราบ
Helicobacter pylori ทำให้เกิด gastritis
กับ peptic ulcer disease
H. pylori สร้าง urease
จำนวนมาก ดังนั้น ถ้าตรวจหาเชื้อนี้ด้วยวิธี urea hydrolysis
ได้จากตัวอย่าง แสดงว่าติดเชื้อนี้
· Genome ของ Campylobacter
jejuni และ Helicobacter
pylori มีนิวคลีโอไทด์มีขนาดประมาณ 1.6
ล้านคู่เบส
______________________________