วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อาร์เคีย (Archaea) แบคทีเรีย

อาร์เคีย (Archaea)
                                            Archaea [Gr. Archaios, ancient]
· เป็นได้ทั้ง Gram Positive or Negative และมีหลายรูปทรง  บางชนิดเป็นเซลล์เดียว 
    บางชนิดมี filaments หรือ aggregates ได้
· ขนาด 0.1 – มากกว่า 15 mm
· เป็นได้ทั้งชนิด aerobic, facultatively anaerobic หรือ aerabic
· Archaea  มักจะพบในที่ที่ extreme aquatic และ terrestrial habitats
· พบบ่อยในที่ที่เป็น anaerobic, hypersaline or high temperature environments
· เร็วๆ นี้มีการค้นพบ archaea  ที่อาศัยที่ภาวะอุณหภูมิต่ำ 34 % ( biomass)  of  procaryotes in coastal Antarctic surface waters เป็น → Archaea


Archaea cell walls
· Gram–positive archaea ® ผนังเซลล์หนาเหมือน Gram–positive bacteria ® ย้อมสีติด Gram–Positive
· Gram–negative archaea ® ไม่มี outer–membrane แต่มี protein หรือ glycoprotein subunits ที่ cell wall
· Archaea ไม่มี muramic acid และ D–amino acids ที่เป็นโครงสร้างประกอบของ peptidoglycan ในแบคทีเรีย
· ดังนั้น เหตุนี้เอง archaea จึงดื้อต่อ Lysosome และ antibiotic ในกลุ่ม β-lactam เช่น penicillin
· Methanobacterium มี cell wall ที่มี pseudomurein (หรือ pseudopeptidoglycan: a peptidoglycan-like polymer)
· Methanosarcina และ Halococcus  ไม่มี pseudomurein แต่จะมีสารประกอบของ polysaccharides  ซึ่งเหมือน chondroitin sulfate ที่พบใน animal connective tissue


Archaeal Lipids and Membranes
· คุณสมบัติที่โดดเด่นที่สุดของ archaea คือ membrane lipids
· archaeal membrane lipids ต่างจาก bacteria และ eucaryotes ตรงที่มี branched chain hydrocarbons  ต่อกับ glycerol และเชื่อมด้วย ether links แทนที่จะต่อกับ fatty acids และเชื่อมด้วย ester links
· บางครั้ง 2 glycerol groups จะจับกันได้เป็น long tetra ether
· พบ Polar lipids เช่น phospholipids, sulfolipids และ glycolipids ใน archaea
· 7–30 % ของ membrane lipids เป็น non-polar lipids ซึ่งมักจะเป็น derivatives ของ squalene 
· nonpolar lipids  นี้สามารถใช้สร้าง membrane ได้ความแข็งแรงและความหนาต่างๆ  กัน  ดังเช่น  C20 diether ซึ่งจะใช้สร้าง bilayer membrane ทั่วไปใน archaea
· และ C40 tetraether lipids ทำให้ผนังเซลล์แข็งแรง membrane lipids นี้มีอยู่ใน thermoplasma  และ sulfolobus archaea ที่เป็น extreme thermophiles


Genetics  and  Molecular  Biology
· Archaea genetics คล้ายกับแบคทีเรีย
· DNA size ประมาณ » E. coli = 2.5 X109 daltons
· G + C content 21–68 mol%
· พบ plasmid น้อยมาก
· TyC arm ของ  archaeal tRNA ไม่มี thymine
· DNA–dependent RNA polymesaes เหมือน eucaryotic complex, ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ rifampin และ streptolydigin


Metabolism
· archaea  เป็น organotrophs, autophs   มีบาง specics เป็น phototrophs
· archaea ไม่มี 6–phosphofructokinase
· Embden–Meyerhof pathway ของ archaea จะต่างออกไป
· ยังไม่มีการค้นคว้าว่ามี Methanogen ใดที่มี TCA cycle ที่สมบูรณ์
· Methanageus และ extreme thermophiles เป็น autotrophy
· Thermoproteus และ Sulfolobus CO2 fixation โดยใช้ TCA  cycle
· Methanogen และ extreme thermophiles  สังเคราะห์ qlucose จาก CO2 โดยใช้ acetyl–COA  pathway 


Archaea  Taxonomy
· ตาม rRNA sequence   archaea  มี 2 phyla คือ
      1. Euryarchaeota [Gr, eurus = wide, archaios = ancient or primitive]
          มี 7 Class คือ Methanobacteria, Methanococci, Halobacteria, Thermoplasmata, Thermococci, 
          Archaeglobi และ Methanopyri
      2. Crenarcheota [Gr, crene = spring or fount, archaios] มี 1 class คือ Thermoprotei (ซึ่งมี 3 orders)


Phylum  Crenarchaeota
·   เป็น extreme thermophiles
·   ส่วนมากเป็น  acidphiles และ sulfur dependent
·   sulfur  ถูกใช้เป็น electron acceptor ใน anaerobic respiration  หรือเป็น eletron source ใน lithotrophs
·   ส่วนมากเป็น anaerobes
·   เจริญในที่ที่มี sulfur เช่น sulfur–rich hot springs, ปล่องภูเขาไฟ ® ที่เรียกว่า solfatara 
·   เช่น  Phrodietlum, Pyrodictium  (optima temperature  สำหรับการเจริญเติบโตที่ 105oC)
·   มี  24 genera  มีการศึกษารายละเอียดไว้มากคือ Thermoproteus กับ Sulfolobus


          Genus Sulfolobus
          ·   Gram–negative, aerobic, รูปร่างบิดเบี้ยว, 
                  อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือที่ 70 – 80 oและ pH  ที่ 2 - 3       
          ·   เป็น  thermoacidophiles
          ·   ผนังเซลล์ประกอบด้วย  lipoprotein และ  carbohydrate  ไม่มี  peptidoglycan
          ·   Oxygen  เป็น  electron  acceptor  แต่  ferric  iron  ก็สามารถเป็นได้เช่นกัน
          ·   ใช้ Sugars,  amino acids  (เช่น glutamate)  เป็น carbon and energy sources


          Genus  Thermoproteus
          ·   รูปแท่งยาว  งอได้  หรือเป็นแขนงแตกออกได้
          ·   ผนังเซลล์  ประกอบด้วย  glycoprotein
          ·   เป็น  anaerobes  โตที่ temperature 70 – 97oC, pH 2.5 – 6.5
          ·   พบตามน้ำพุน้อน (hot springs) และน้ำร้อนที่มี sulfur
          ·   สามารถโตได้ในอาหารที่มี glucose, aminoacids, alcohols และ organic acids ที่มี sulfur (ใช้เป็น electron acceptor) 
          ·   CO หรือ CO2 สามารถเป็น  sole carbon source ได้


Phylum  Euryarchaeota
มีหลายคลาส (classes), orders และ families ในที่นี้จะพูดถึง 5 กลุ่มคือ

1) Methanogens
·  เป็น anaerobes
·  สามารถเปลี่ยน CO2, H2, formate, methanol, acetate และสารอื่นๆ ให้เป็น methane หรือ methane กับ CO2 เพื่อใช้เป็นพลังงานได้   
·   เป็น autotrophic เมื่อเจริญกับ H2 และ CO2
·   กลุ่มที่ใหญ่ที่สุดใน euryarchaeota มี 5  orders คือ 
Methanobacteriales, Methanococcales, Methanomicrobiales, Methanosarcinales และ Methanopyrales  มี 26  genera
·   แต่ละ genera มีรูปแบบต่างๆ  กันไป และส่วนประกอบของผนังเซลล์ต่าง ๆ กัน
·   ตัวอย่าง เช่น Methanopyri  อยู่ใน  order Methanopyrales  เป็น rod shaped methanogen  ได้มาจากน้ำพุร้อนใต้มหาสมุทร  Methanopyrus  kandleri สามารถโตได้ที่ temperature 110oคาดว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ตั้งแต่เมื่อโลกยังมีอายุน้อย
·   methanogens  มี  cofactors ชนิดพิเศษ เช่น tetrahydromethanopterin (M4MPT), methanofuran (MFR) , Coenzyme M (2–mercaptoethanesulfonic acid), coenzyme F420 และ  Coenzyme F430
·  ATP synthesis สัมพันธ์กับ methanogenesis (โดย electron transport, proton pumping  และ  chemiosmosis mechanism)
·   Anaerobic microbes ย่อยสลายของเสียจากท่อระบายน้ำเป็น H2, CO2 และ acetate 
·   CO2–reducing methanogane สังเคราะห์ CH4 ด้วย CO2 + H2
·   Aceticlastic methanogens ย่อย actate เป็น ® O2 + H2O (2/3 ของ methane ที่ผลิตออกมา)
·   สามารถเป็น pollution–free energy ได้ ® future research
·   methane = green house gas ® ให้เกิดโลกร้อน (global warming)

2) Halobacteria
·  15  genera
·  เป็น extreme halophiles
·   aerobic, chemoheterotrophs
·   มีทั้ง nonmotile และ motile  species
·   *** เจริญเติบโตที่ที่มีความเข้มข้นสูงของ NaCl  (17–23 % w/v)  สามารถโตที่  NaCl  36 % ได้
·   cell wall จะไม่สามารถอยู่ได้ที่ความเข้มข้นของ NaCl ประมาณ  1.5 M
·   เจริญในทะเลสาบที่มีความเค็มมากๆ  
·   มักจะมี pigment สีแดงถึงเหลืองจาก carotenoids (ป้องกัน UV)  ถ้าเจริญเติบโตจนมีจำนวนประชากรมากๆ ในทะเลสาบจะเห็นเป็นสีแดง
·   ที่มีการศึกษากันมาคือ  Halobacterium  salinarium  (H. halobium)  ซึ่งสามารถสังเคราะห์แสงได้โดยไม่จำเป็นต้องมี  chlorophyll    บาง species เมื่ออยู่ในสภาวะที่มี O2 ต่ำ จะมีการปรับปรุง cell wall เป็น  purple  membrane  ซึ่งมีโปรตีนชื่อ bacteriorhodopsin อยู่  ซึ่งใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง proton pumping ATP synthesis chemiosmosis

3) Thermoplasms
·   เป็น Thermoacidophiles  ที่ไม่มี cell wall
·   2  genera คือ Thermoplasma และ Picrophilus

Thermoplasma
· โตในกองถ่านหินที่มี iron pyrite (FeS2) ซึ่งจะถูก  oxidized  ไปเป็น sulfuric acid โดย chemolithotrophic  bacteria ทำให้กองถ่านหินนี้มีสภาวะเป็นกรดและร้อน  ซึ่งเป็นสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ  Thermoplasma (55–59 oC, pH 1-2)
· ไม่มี cell wall แต่ plasma membrane    แข็งแรงได้เพราะมี diglycerol tetraethers, lipopolysaccharides  และ glycoproteins  จำนวนมาก
· DNA  สามารถทนสภาวะสุดขั้วได้  เนื่องจากจะพันอยู่กับ histonelike protien เหมือนกับ eucaryotic chromosome และที่ 59 oC Thermoplasma  เปลี่ยนรูปจากกลมเป็นบิดเบี้ยวและสามารถเคลื่อนที่ได้

Picrophilus
· isolated  จาก solfataric fields  ในญี่ปุ่น
· ไม่มี cell wall  แต่มี  S–layer ที่ plasma membrane 
· cocci  บิดเบี้ยว, มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1–1.5 mm 
· มีช่องว่างใหญ่ภายใน cyloplasm เป็นแบบ non–membrane bounded
· aerobic, เจริญเติบโตที่ 47 – 65 oC, เจริญเติบโตที่ optimal pH 0.7  ปกติการเจริญเติบโตจะเกิดขึ้นที่  pH 0 !


4)  Extremely thermophilic sulfur metabolizers
          เป็น class  Thermococci 1 order คือ Thermococcales
Thermococcales
· Strictly anaerobic
· สามารถ reduce sulfur sulfide
· มี  flagella
· เจริญเติบโตได้ดี (optimal growth)  ที่  temperature  88–100 oC
· มี 1 family  และ  2 genera คือ Thermococcus และ Pyrococcus


5) Sulfate – reducing  archaea
เป็น Class Archaeoglobi, Order Archaeoglobales
มี 1  family 1 genus คือ Archaeoglobus
·   เป็น grame–negative
·   รูปร่าง irregular coccoid  
·   มี cell wall ที่มี  glycoprotein subunits 
·   สามารถใช้  electron จาก  H2, lactate หรือ glucose เพื่อรีดิวซ์ (reduce)
sulfate (SO 2−), sulfite หรือ thiosulfate (S2O3 2-) ไปเป็น  sulfide (H2S)
·   Archaeoglobus   เจริญเติบโตเหมาะที่สุดที่ 83 oแยกเชื้อมาจากน้ำพุร้อนใต้มหาสมุทร
·   นอกจากสามารถ  reduce sulfate ได้แล้ว  ยังมีส่วนประกอบของ methanogen coenzyme F420 และ methanoptrine  

.................................................................

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น