วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558

อาร์เคีย (Archaea) แบคทีเรีย

อาร์เคีย (Archaea)
                                            Archaea [Gr. Archaios, ancient]
· เป็นได้ทั้ง Gram Positive or Negative และมีหลายรูปทรง  บางชนิดเป็นเซลล์เดียว 
    บางชนิดมี filaments หรือ aggregates ได้
· ขนาด 0.1 – มากกว่า 15 mm
· เป็นได้ทั้งชนิด aerobic, facultatively anaerobic หรือ aerabic
· Archaea  มักจะพบในที่ที่ extreme aquatic และ terrestrial habitats
· พบบ่อยในที่ที่เป็น anaerobic, hypersaline or high temperature environments
· เร็วๆ นี้มีการค้นพบ archaea  ที่อาศัยที่ภาวะอุณหภูมิต่ำ 34 % ( biomass)  of  procaryotes in coastal Antarctic surface waters เป็น → Archaea


Archaea cell walls
· Gram–positive archaea ® ผนังเซลล์หนาเหมือน Gram–positive bacteria ® ย้อมสีติด Gram–Positive
· Gram–negative archaea ® ไม่มี outer–membrane แต่มี protein หรือ glycoprotein subunits ที่ cell wall
· Archaea ไม่มี muramic acid และ D–amino acids ที่เป็นโครงสร้างประกอบของ peptidoglycan ในแบคทีเรีย
· ดังนั้น เหตุนี้เอง archaea จึงดื้อต่อ Lysosome และ antibiotic ในกลุ่ม β-lactam เช่น penicillin
· Methanobacterium มี cell wall ที่มี pseudomurein (หรือ pseudopeptidoglycan: a peptidoglycan-like polymer)
· Methanosarcina และ Halococcus  ไม่มี pseudomurein แต่จะมีสารประกอบของ polysaccharides  ซึ่งเหมือน chondroitin sulfate ที่พบใน animal connective tissue


Archaeal Lipids and Membranes
· คุณสมบัติที่โดดเด่นที่สุดของ archaea คือ membrane lipids
· archaeal membrane lipids ต่างจาก bacteria และ eucaryotes ตรงที่มี branched chain hydrocarbons  ต่อกับ glycerol และเชื่อมด้วย ether links แทนที่จะต่อกับ fatty acids และเชื่อมด้วย ester links
· บางครั้ง 2 glycerol groups จะจับกันได้เป็น long tetra ether
· พบ Polar lipids เช่น phospholipids, sulfolipids และ glycolipids ใน archaea
· 7–30 % ของ membrane lipids เป็น non-polar lipids ซึ่งมักจะเป็น derivatives ของ squalene 
· nonpolar lipids  นี้สามารถใช้สร้าง membrane ได้ความแข็งแรงและความหนาต่างๆ  กัน  ดังเช่น  C20 diether ซึ่งจะใช้สร้าง bilayer membrane ทั่วไปใน archaea
· และ C40 tetraether lipids ทำให้ผนังเซลล์แข็งแรง membrane lipids นี้มีอยู่ใน thermoplasma  และ sulfolobus archaea ที่เป็น extreme thermophiles


Genetics  and  Molecular  Biology
· Archaea genetics คล้ายกับแบคทีเรีย
· DNA size ประมาณ » E. coli = 2.5 X109 daltons
· G + C content 21–68 mol%
· พบ plasmid น้อยมาก
· TyC arm ของ  archaeal tRNA ไม่มี thymine
· DNA–dependent RNA polymesaes เหมือน eucaryotic complex, ไม่ตอบสนองต่อยาปฏิชีวนะ rifampin และ streptolydigin


Metabolism
· archaea  เป็น organotrophs, autophs   มีบาง specics เป็น phototrophs
· archaea ไม่มี 6–phosphofructokinase
· Embden–Meyerhof pathway ของ archaea จะต่างออกไป
· ยังไม่มีการค้นคว้าว่ามี Methanogen ใดที่มี TCA cycle ที่สมบูรณ์
· Methanageus และ extreme thermophiles เป็น autotrophy
· Thermoproteus และ Sulfolobus CO2 fixation โดยใช้ TCA  cycle
· Methanogen และ extreme thermophiles  สังเคราะห์ qlucose จาก CO2 โดยใช้ acetyl–COA  pathway 


Archaea  Taxonomy
· ตาม rRNA sequence   archaea  มี 2 phyla คือ
      1. Euryarchaeota [Gr, eurus = wide, archaios = ancient or primitive]
          มี 7 Class คือ Methanobacteria, Methanococci, Halobacteria, Thermoplasmata, Thermococci, 
          Archaeglobi และ Methanopyri
      2. Crenarcheota [Gr, crene = spring or fount, archaios] มี 1 class คือ Thermoprotei (ซึ่งมี 3 orders)


Phylum  Crenarchaeota
·   เป็น extreme thermophiles
·   ส่วนมากเป็น  acidphiles และ sulfur dependent
·   sulfur  ถูกใช้เป็น electron acceptor ใน anaerobic respiration  หรือเป็น eletron source ใน lithotrophs
·   ส่วนมากเป็น anaerobes
·   เจริญในที่ที่มี sulfur เช่น sulfur–rich hot springs, ปล่องภูเขาไฟ ® ที่เรียกว่า solfatara 
·   เช่น  Phrodietlum, Pyrodictium  (optima temperature  สำหรับการเจริญเติบโตที่ 105oC)
·   มี  24 genera  มีการศึกษารายละเอียดไว้มากคือ Thermoproteus กับ Sulfolobus


          Genus Sulfolobus
          ·   Gram–negative, aerobic, รูปร่างบิดเบี้ยว, 
                  อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือที่ 70 – 80 oและ pH  ที่ 2 - 3       
          ·   เป็น  thermoacidophiles
          ·   ผนังเซลล์ประกอบด้วย  lipoprotein และ  carbohydrate  ไม่มี  peptidoglycan
          ·   Oxygen  เป็น  electron  acceptor  แต่  ferric  iron  ก็สามารถเป็นได้เช่นกัน
          ·   ใช้ Sugars,  amino acids  (เช่น glutamate)  เป็น carbon and energy sources


          Genus  Thermoproteus
          ·   รูปแท่งยาว  งอได้  หรือเป็นแขนงแตกออกได้
          ·   ผนังเซลล์  ประกอบด้วย  glycoprotein
          ·   เป็น  anaerobes  โตที่ temperature 70 – 97oC, pH 2.5 – 6.5
          ·   พบตามน้ำพุน้อน (hot springs) และน้ำร้อนที่มี sulfur
          ·   สามารถโตได้ในอาหารที่มี glucose, aminoacids, alcohols และ organic acids ที่มี sulfur (ใช้เป็น electron acceptor) 
          ·   CO หรือ CO2 สามารถเป็น  sole carbon source ได้


Phylum  Euryarchaeota
มีหลายคลาส (classes), orders และ families ในที่นี้จะพูดถึง 5 กลุ่มคือ

1) Methanogens
·  เป็น anaerobes
·  สามารถเปลี่ยน CO2, H2, formate, methanol, acetate และสารอื่นๆ ให้เป็น methane หรือ methane กับ CO2 เพื่อใช้เป็นพลังงานได้   
·   เป็น autotrophic เมื่อเจริญกับ H2 และ CO2
·   กลุ่มที่ใหญ่ที่สุดใน euryarchaeota มี 5  orders คือ 
Methanobacteriales, Methanococcales, Methanomicrobiales, Methanosarcinales และ Methanopyrales  มี 26  genera
·   แต่ละ genera มีรูปแบบต่างๆ  กันไป และส่วนประกอบของผนังเซลล์ต่าง ๆ กัน
·   ตัวอย่าง เช่น Methanopyri  อยู่ใน  order Methanopyrales  เป็น rod shaped methanogen  ได้มาจากน้ำพุร้อนใต้มหาสมุทร  Methanopyrus  kandleri สามารถโตได้ที่ temperature 110oคาดว่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่ตั้งแต่เมื่อโลกยังมีอายุน้อย
·   methanogens  มี  cofactors ชนิดพิเศษ เช่น tetrahydromethanopterin (M4MPT), methanofuran (MFR) , Coenzyme M (2–mercaptoethanesulfonic acid), coenzyme F420 และ  Coenzyme F430
·  ATP synthesis สัมพันธ์กับ methanogenesis (โดย electron transport, proton pumping  และ  chemiosmosis mechanism)
·   Anaerobic microbes ย่อยสลายของเสียจากท่อระบายน้ำเป็น H2, CO2 และ acetate 
·   CO2–reducing methanogane สังเคราะห์ CH4 ด้วย CO2 + H2
·   Aceticlastic methanogens ย่อย actate เป็น ® O2 + H2O (2/3 ของ methane ที่ผลิตออกมา)
·   สามารถเป็น pollution–free energy ได้ ® future research
·   methane = green house gas ® ให้เกิดโลกร้อน (global warming)

2) Halobacteria
·  15  genera
·  เป็น extreme halophiles
·   aerobic, chemoheterotrophs
·   มีทั้ง nonmotile และ motile  species
·   *** เจริญเติบโตที่ที่มีความเข้มข้นสูงของ NaCl  (17–23 % w/v)  สามารถโตที่  NaCl  36 % ได้
·   cell wall จะไม่สามารถอยู่ได้ที่ความเข้มข้นของ NaCl ประมาณ  1.5 M
·   เจริญในทะเลสาบที่มีความเค็มมากๆ  
·   มักจะมี pigment สีแดงถึงเหลืองจาก carotenoids (ป้องกัน UV)  ถ้าเจริญเติบโตจนมีจำนวนประชากรมากๆ ในทะเลสาบจะเห็นเป็นสีแดง
·   ที่มีการศึกษากันมาคือ  Halobacterium  salinarium  (H. halobium)  ซึ่งสามารถสังเคราะห์แสงได้โดยไม่จำเป็นต้องมี  chlorophyll    บาง species เมื่ออยู่ในสภาวะที่มี O2 ต่ำ จะมีการปรับปรุง cell wall เป็น  purple  membrane  ซึ่งมีโปรตีนชื่อ bacteriorhodopsin อยู่  ซึ่งใช้ในกระบวนการสังเคราะห์แสง proton pumping ATP synthesis chemiosmosis

3) Thermoplasms
·   เป็น Thermoacidophiles  ที่ไม่มี cell wall
·   2  genera คือ Thermoplasma และ Picrophilus

Thermoplasma
· โตในกองถ่านหินที่มี iron pyrite (FeS2) ซึ่งจะถูก  oxidized  ไปเป็น sulfuric acid โดย chemolithotrophic  bacteria ทำให้กองถ่านหินนี้มีสภาวะเป็นกรดและร้อน  ซึ่งเป็นสภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของ  Thermoplasma (55–59 oC, pH 1-2)
· ไม่มี cell wall แต่ plasma membrane    แข็งแรงได้เพราะมี diglycerol tetraethers, lipopolysaccharides  และ glycoproteins  จำนวนมาก
· DNA  สามารถทนสภาวะสุดขั้วได้  เนื่องจากจะพันอยู่กับ histonelike protien เหมือนกับ eucaryotic chromosome และที่ 59 oC Thermoplasma  เปลี่ยนรูปจากกลมเป็นบิดเบี้ยวและสามารถเคลื่อนที่ได้

Picrophilus
· isolated  จาก solfataric fields  ในญี่ปุ่น
· ไม่มี cell wall  แต่มี  S–layer ที่ plasma membrane 
· cocci  บิดเบี้ยว, มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1–1.5 mm 
· มีช่องว่างใหญ่ภายใน cyloplasm เป็นแบบ non–membrane bounded
· aerobic, เจริญเติบโตที่ 47 – 65 oC, เจริญเติบโตที่ optimal pH 0.7  ปกติการเจริญเติบโตจะเกิดขึ้นที่  pH 0 !


4)  Extremely thermophilic sulfur metabolizers
          เป็น class  Thermococci 1 order คือ Thermococcales
Thermococcales
· Strictly anaerobic
· สามารถ reduce sulfur sulfide
· มี  flagella
· เจริญเติบโตได้ดี (optimal growth)  ที่  temperature  88–100 oC
· มี 1 family  และ  2 genera คือ Thermococcus และ Pyrococcus


5) Sulfate – reducing  archaea
เป็น Class Archaeoglobi, Order Archaeoglobales
มี 1  family 1 genus คือ Archaeoglobus
·   เป็น grame–negative
·   รูปร่าง irregular coccoid  
·   มี cell wall ที่มี  glycoprotein subunits 
·   สามารถใช้  electron จาก  H2, lactate หรือ glucose เพื่อรีดิวซ์ (reduce)
sulfate (SO 2−), sulfite หรือ thiosulfate (S2O3 2-) ไปเป็น  sulfide (H2S)
·   Archaeoglobus   เจริญเติบโตเหมาะที่สุดที่ 83 oแยกเชื้อมาจากน้ำพุร้อนใต้มหาสมุทร
·   นอกจากสามารถ  reduce sulfate ได้แล้ว  ยังมีส่วนประกอบของ methanogen coenzyme F420 และ methanoptrine  

.................................................................

วันพุธที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2558

แบคทีเรียที่มีเปอร์เซ็น G+C สูง และเป็นแบคทีเรียแกรมบวก

แบคทีเรียที่มีเปอร์เซ็น G+C สูงและเป็นแบคทีเรียแกรมบวก

         ใน Bergeys Manual พิมพ์ครั้งที่  High G+C Gram positive bacteria จะเป็นพวก actinomycetes  (เนื่องจากว่ามี filamentous hyphae แถมยังไม่ค่อยพบว่ามีการ fermentation และสร้าง asexual spores) ซึ่งจะคล้ายๆกับรา (fungi) แต่ต่อมาจะแยกเป็น กลุ่ม High G+C Gram positives ใน Bergeys Manual พิมพ์ครั้งที่ 2


1.      คุณลักษณะทั่วไปของ actinomycetes
·       เมื่อเพาะเลี้ยงบน agar จะเกิดเป็น branching network of hyphae มี septa ซึ่งจะแบ่งเซลล์เป็นส่วนๆละ 20 mm หรือมากกว่านี้ แต่ละเซลล์มี nucleoids > 1   การแตกกิ่งก้านของ actinomycetes  จนมีลักษณะคล้ายก้อน tissue เรียกว่า thallus      actinomycetes หลายๆ ชนิดจะมีการฟอร์มของ asexual thin – walled spore  เรียกว่า conidia  หรือ conidiospores  ถ้าสปอร์อยู่ใน sporangium จะเรียกว่า sporagiospores  สปอร์นี้ยังมีขนาดต่างๆกัน     สปอร์ของ actinomycetes มักจะไม่ทนต่อความร้อน
·       Actinomycetes  ส่วนมาก เคลื่อนไหวไม่ได้  การเคลื่อนไหวมักจะมีเมื่อเป็น flageleted spores
·       Cell  wall  ของ actinomycetes  มี 4 types หลักๆ ตามลักษณะ
1.      peptidoglycan composition และ structure ก็คือ  amino  acid  ใน
      tetrapeptide side chain ตำแหน่งที่ 3
2.      glycine ใน interpeptide  bridges
3.      peptidoglycan sugar content
·       นอกจากนี้แล้ว การดูองค์ประกอบของ sugar  ใน cell wall ของ actinomycetes ยังสามารถใช้จำแนกแบคทีเรียกลุ่มนี้ได้เช่นกัน
·       ความสำคัญ actinomycetes ช่วยย่อยสลาย organic matter, มี anibiotics และเป็น pathogens


2.      High  G+C Gram  Positive  Bacteria  in  Bergey’s  Manual 2nd
·       ต่อมาในการตีพิมพ์ของ Bergeys Manual ครั้งที่ 2  ได้แบ่งแยก actinomycetes ใหม่ตาม 16S rRNA sequences
·       Actenomycetes มี 1  Class (Actinobacteria), 5 subclasses, 6 orders, 14 suborders  และ 40 families  ซึ่งเป็น high G+C Gram positives 


3.      Suborder  Actinomycineae
·       พวก Actinomyces, Arcanobacterium  และ Mobiluncus อยู่ใน suborder นี้
·       ตัวอย่าง เช่น Actinomyces  รูปทรงเป็น straight หรือ slightly curved rods
·       เป็นได้ทั้ง facultative  หรือ strict anaerobes ซึ่งต้องการ CO2 เพื่อ best  growth 
·       Cell wall  มี lysine  (ไม่เป็น diaminopimelic acid  หรือ glycine)
·       Actinomyces  species  พบทั่วๆไปที่ mucosal surfaces ในคนเราและสัตว์เลือดอุ่น ที่พบมากจะเป็นที่ oral cavity
·       A. bovis  ทำให้เกิด ocular infection (การติดเชื้อที่ตา ) และ periodontal  disease (โรคเหงือก)


4.      Suborder   Micrococineae
·       มี  10  families  และแบ่งเป็น genera ย่อยๆ อีกหลายๆอัน
·       ที่รู้จักกันดีใน  suborder  นี้  คือ genus  Micrococcus  กับ Arthrobacter
4.1  Micrococus
·       เป็น aerobic, catalase – positive  cocci  โดยมักจะพบว่ามันจะจับกันอยู่เป็นคู่ , สี่ หรือ กลุ่มใหญ่ เป็น nonmotile
·       Micrococci  มักจะมีสีเหลือง ส้ม หรือแดง พบในพื้นดิน น้ำและ ผิวหนังของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม  แม้ว่าพบที่ผิวหนังแต่ micrococci ไม่เป็น pathogenic
4.2  Arthrobacter
·       aerobic, catalase – positive  rods  มี lysine ใน peptidoglycan
·       ลักษณะที่พิเศษของ arthrobacter คือ มี rod–coccus growth cycle 
Arthrobacter (exponential phase) = irregular rods (snapping division ) ® coccoid (stationary phase) ® เพาะลง fresh medium ® ลายเป็น rods
·       Anthrobacter  มักจะแยกเชื้อได้จากปลา, ในท่อน้ำทิ้ง, ผิวต้นไม้ แต่ที่อยู่ที่สำคัญเป็นพื้นดิน  Arthrobacter  ปรับตัวได้ดีในดิน แม้ว่าจะเป็นดินที่ขาดสารอาหาร
·       Arthrobacter  ยังสามารถย่อยสลายพวก  herbicides  และ pesticides
·       Snapping  division = ใน bacteria นั้นมี  inner  กับ outer cell  wall       ใน snapping  division  เฉพาะ  inner membrane จะเกิดเจริญเป็น  septum  ทำให้เกิดแรงตึงที่ outer  membrane  สุดท้าย outer membrane ก็แตก เซลล์แยกเป็นสอง


5.      Suborder  Corynebacterineae
·       มี 7 families     genus ที่สำคัญ 3 genus คือ Corynebacterium , Mycobacterium  และ Nocardia
5.1  Genus  Corynebacterium
·       aerobic  หรือ faccultative, catalase  positive,  straight หรือ slightly curved rods
·       แบคทีเรียนี้มักจะพบว่า หลังจาก snapping  division เซลล์ที่จะแยกออกไป จะยังคงติดกันอยู่  และมักจะเรียงตัวกันโดยหันด้านข้างชนกัน
·       Cell  walls มี  meso–diaminopimelic acid
·       บาง species เป็น  saprophytes  ในน้ำมันและน้ำ  หลายๆ species เป็น plant  หรือ animal pathogens  เช่น C. diphtheriae ทำให้เกิดโรคคอตีบ (diphtheria)  ในคน
5.2  Genus  Mycobacterium  
·       slightly curved straight rods  บางครั้งพบเป็นกิ่งก้านหรือต่อกันเป็น filaments 
·       Mycobacterial filaments ® fragmenting  เป็น rods และ coccoid (เมื่อเทียบกับ actinomycetes)
·       เป็น aerobic และ catalase positive 
·       Mycobacteria โตช้ามาก คือ ใช้เวลา 2-40 วันบนอาหารเพาะเชื้อ agar
·       Cell  walls  มี  lipid สูงมาก  และ cell walls มี waxes ที่มีโมเลกุลคาร์บอน  60-90 ตัวชื่อว่า mycolic acids
·       การที่มี mycolic acids และlipids อื่นๆ ที่ผนังเซลล์ชั้น peptidoglycan layer  ทำให้ mycobacteria ย้อมติดสี acid–fast (fuchsin dye)
·       M. bovis ® ทำให้เกิดวัณโรค (tuberculosis) ในสัตว์กินหญ้าและลิง  เพราะเหตุนี้จึงจำเป็นต้องมีการ ตรวจสอบ อาหารพวกนม  วัว เพื่อป้องกันวัณโรคด้วย
M. tuberculosis ® tuberculosis ในคน
M. leprae ®ทำให้เกิดโรคเรื้อน (leprosy)
5.3  Genus  Nocordia 
·       อยู่ใน family  Nocardiaceae  มี 2 genera  : Nocardia  กับ R. rhodococcus  แต่เนื่องจากทั้ง 2 genera  เหมือนกันมากจึงมักจะเรียกเป็น nocardioforms 
·       แบคทีเรียกลุ่มนี้จะมี mycelium ที่แตกออกเป็น rods และ coccoid  elements
·       ส่วนมากเป็น strict aerobes
·       cell  walls มี peptidoglycan  ซึ่งมี meso-diamino pimelic acid  (ไม่มี peptide interbridge)  ผนังเซลล์มักมีคาร์โบไฮเดรตพวก arabinose และ galactose
·       Nocardia และ Rhodococcus มี mycolic acids ที่ walls ด้วย
·       Nocardia  พบตามแหล่งน้ำต่างๆ ®degradation  ของ hydrocarbons และ waxes ทำให้เกิดการเสียหายของ rubber  joints ในท่อน้ำ   N. asteroides ก่อโรคในคนได้ (ติดเชื้อที่ปอด)
·       Rhodococcus พบตามแหล่งดินและน้ำ  ®   น่าสนใจมากเนื่องจากสามารถ ย่อยสลายโมเลกุลพวก petroleum hydrocarbons, detergents, benzene, polychlorinated biphenyls (PCBs) และ pesticides และยังมีความเป็นไปได้ที่ จะใช้ Rhodococcus ในการแยก sulfur ออกจากน้ำมันเชื้อเพลิง ซึ่งจะช่วยลดปริมาณมลพิษในอากาศจาก sulfer oxide emissions จากรถยนต์


6.      Suborder  Micromonosporineae
·       มี 1 family  คือ Micromonosporaceae
·       Actinoplanetes  [Gr. actinos = a ray of beam / planes / a wanderer] มี mycelium และ cell wall  ชนิด IID,     hyphae มักจะมีสี  มักจะไม่มี airal mycelium  มี conidiospores อยู่ใน sporangium ที่ชูขึ้นมาโดย sporagiophore      สปอร์มีทั้งเคลื่อนที่ได้และไม่ได้     Actinoplanes และ Pilimelia  genus มี 5 sporangia  ซึ่งเป็นลักษณะเป็นกรวยกลม ภายในมีสปอร์หลายพันสปอร์ สปอร์จะเรียงกันวงกลมหรือลูกโซ่
Pactylosporangium  สปอร์เป็นรูป  club–shaped  เหมือนนิ้วมือ มีสปอร์อยู่ 1-6 สปอร์     Micromonospora มี สปอร์ที่เห็นเป็นกิ่งก้าน
·       Actinoplanetes  พบตามพื้นดิน ในป่าจนถึงทรายตามชายหาดทะเล  นอกจากนี้แล้วยังพบในแหล่งน้ำจืดโดยเฉพาะตามแม่น้ำลำ  คลองเนื่องจากว่ามี O2 และซากพืชอยู่มาก         บางสปีชีส์พบในมหาสมุทร  actinoplanetes  ที่อยู่ตามพื้นดินจะสำคัญในการย่อยสลายซากพืช ซากสัตว์      Pilmelia โตในอาหารที่มี kenatin     Micromonospora  สามารถย่อย  chitin และ cellulose ได้ และยังสร้าง antibiotics เช่น gentamicin ได้


7.      Suborder  Propionibacterineae
·       มี 2 families  แบ่งเป็น 10 genera
·       genus  ที่สำคัญคือ Propionibacterium  ซึ่งอยู่ใน family  Propionibacteriaceae
-          เป็น pleomorphic, nonmotile, nonsporing rods บางเซลล์จะพบเป็น coccoid  หรือ branched  อาจจะเกาะกลุ่มกันอยู่หรือเกาะกันเป็นระยะสั้นๆ
-          faculatatively anaerobic หรือ aerotolerent
-          lactate  และ sugars  ถูก fermented  เพื่อผลิต propionic และ acetic acids และ CO2
-          usually catalase positive
-          เจริญได้บนผิวหนัง และทางเดินอาหารในสัตว์ต่างๆ  พบในผลิตภัณฑ์นม เช่น cheese    Propionibacterium  ใช้ผลิต swiss cheese  
-          P. acnes  เกี่ยวข้องกับการเกิดกลิ่นตัวและสิว (acne vulgaris)


8.      suborder  Streptomycineae
·       มี 1 family  คือ Streptomycetaceae  ซึ่งแยกเป็น 3 genera    genus ที่สำคัญคือ Streptomyces  ซึ่งมี aerial hyphae  ลักษณะแยกเป็น 2 กิ่งแต่ละกิ่งมี  nonmotile conidiospores  ต่อกันเป็นเหมือนลูกปัด
·       Streptomyces  มี cell wall ชนิด type I, G+C content 69-78 %,  mycelium  จะไม่มีการแตกหลุด (fragmentation)  เชื้อในกลุ่มนี้มักจะถูกเรียกว่า streptomycetes [Gr. Streptos = bent or twisted, myces = fungus]
·       Streptomyces มีประมาณ 500 สปีชีส์ เป็น strict aerobes          สปอร์ของ Streptomyces จะต่อกันเป็นลูกปัดหุ้มด้วย sheath เรียกว่า conidia ซึ่งมักจะมี pigment  ผิวเรียบหรือมีขนด้วย
·       Streptomyces  species สามารถแยกแยะได้ตามสัณฐานวิทยาของมันและลักษณะต่างๆ ของ Mycelia  การเรียงตัวของสปอร์  การใช้คาร์โบไฮเดรต  การผลิต antibiotic,  hydrolysis of urea,  และผลิต hipupuric acid
·       Streptomyces มีความสำคัญทั้งทางนิเวศวิทยาและทางการแพทย์  ที่อยู่ตามธรรมชาติของ Streptomyces คือตามพื้นดิน  กลิ่นของดินเป็นผลที่เกิดจาก Sterptomyces ซึ่งสร้างสารระเหยพวก geosmin     นอกจากนี้แล้ว streptomyces ยังเป็นผู้ย่อยสลายอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะสามารถย่อยสลายพวก pectin, lignin, chitin, keteatin, latex  และ aromatic  compounds            และ Streptomycetes ยังรู้จักกันดีในแง่ที่มันสามารถผลิตยาปฏิชีวนะได้เช่น amphotericin B, chloramphenicol, erythromycin, neomycin, nystatin, streptomycin, tetracycline และอื่นๆ
·       Streptomyces scabies ก่อให้เกิดโรค scub disease กับ มันฝรั่งและบีท (beets)   S. somaliensis  ก่อโรค actinomycetoma เป็นการติดเชื้อที่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง ทำให้เกิดหนอง บวม  จนอาจจะลุกลามไปถึงกระดูก   S. albus  เป็นอีกเชื้อหนึ่งที่พบในผู้ป่วยและอาจก่อโรคได้ด้วย
·       Streptoverticillium  เป็น genus ที่มี mycetium  ที่แตกเป็นกิ่ง แต่ละกิ่งจะมีสปอร์อยู่ 


9.      Suborder  Streptosporangineae
·       มีทั้งหมด 3 families  แยกเป็น 14 genera
·       Maduromycetes  มี type III cell wall  และภายในเซลล์มีน้ำตาล madurose (3-0-methyl – D-galactose), G+C content  64-74 %, aerial  mycelia  มีสปอร์ที่ต่อกันเป็นลูกปัดสั้นๆ   ส่วน Substrate mycelium จะแตกเป็นแขนง  บางสปีชีส์จะมี  sporangia ซึ่งจะไม่ทนต่อความร้อนมาก Thermomonospora พบในกองเศษที่เน่าเปื่อยและกองฟาง  Thermomonospora  สามารถเจริญได้ที่อุณหภูมิ 40-48 °C          

10.  Suborder  Frankineae
·       มี genera ที่สำคัญคือ Frankia  กับ Geodermatophilus
·       Frankia มี nonmotile sporangiospores เป็น symbiotic ในพืชที่ไม่ใช้พืชตระกูลถั่ว เป็น microaerophile  สามารถ fix nitrogen ได้ การ fix nitrogen จะคล้ายกับ Rhizobium
·       Geodermatophilus  มี motilespores        
     Geodermatophilus เป็น aerobic soil organism


11.  Order  Bifidobacteriales 
·       มี 1 family  คือ Bifidobacteriaceae  แยกเป็น 8 genera
·       genera Falcivibrio และ Gardnerella  พบที่ท่อทางเดินปัสสาวะของคน
·       Bifidobacterium genus  เป็นจีนัสที่มีการศึกษากันมาก เป็น nonmotile, nonsporing, gram–negative rods  อาจพบ rods จับกันเป็นรูปตัววีได้
·       Bifidobacterium เป็น anaerobic  และชอบหมัก (fermentation) carbohydrates®ได้ acetic และ lactic acids  แต่ไม่มี CO2 เกิดขึ้น  พบตามช่องปากลำไส้ของสัตว์เลือดอุ่น ในท่อน้ำทิ้งและพบที่แมลง   B. bifidus เป็นเชื้อตัวแรกที่จะเข้ามาอยู่ที่ลำไส้คนเรา  โดยเข้ามาตอนที่ดูดนมแม่ในวัยเด็ก


.......................................................................................................